Discuz Thai

 ลืมรหัสผ่าน
 สมัครสมาชิก

ข้อตกลงการใช้งานกระดานข่าวดิสคัสไทย DiscuzThai Agreement (English Version) ประกาศดิสคัสไทย - ทำเนียบดิสคัสภาษาไทย

Discuz! X3.5 Thai R20231001 Rev.8 (NEW) [วิดีโอช่วยสอน] อัปเกรด Discuz! X3.4 เป็น X3.5 Discord ของ Discuz! Thai Community อย่างเป็นทางการ

Discuz! X3.4 Thai R20220811 (REV.75) สิ้นสุดการสนับสนุน Discuz! X3.4 ภาษาไทยตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป (ขอแนะนำให้อัปเกรดเป็น X3.5 แทน)

ค้นหา
แท็กยอดนิยม: ดิสคัสภาษาไทย Discuz Thai
ดู: 2223|ตอบกลับ: 0

[FW Mail] แบบทดสอบ: เงิน 10 บาท

[คัดลอกลิงก์]
jaideejung007 โพสต์ 2009-6-7 23:08:30 |โหมดอ่าน
ถ้ามีเงินอยู่ 10 บาท ซื้อของ 3 บาท จะได้รับเงินทอนเท่าไร?$ a6 {: ^* r  f8 X. h
6 j% Q' G/ F; O8 j. H& P
โจทย์ง่ายๆแค่นี้
& Q9 U( O1 u/ |% pคิดให้ดีก่อนตอบนะจ๊ะะ: {, E6 Q  R) K% I8 B( i. Y
ก. 7 บาท
/ v# P- ~4 f& Z5 O3 Y- \4 v( xข. 2 บาท4 ]+ w6 y" M, H( b! [" _
ค. 1 บาท7 x- ^3 a2 n0 d# _3 q
ง. ไม่ต้องทอน (ขอเหตุผลด้วยนะถ้าตอบข้อนี้อะ)
. k: {# T4 |7 ?: a. \) c3 m5 x2 r( _3 M, ]7 E; J; m" [

, y8 ^2 E. N8 ?/ w6 qเมื่อได้คำตอบแล้ว8 b9 e% y4 i# o! S% U; H, L/ ~' W3 n
ค่อยๆเลื่อนลงไปดูคำตอบข้างล่างจ้า) U' o' B- s6 W! w

7 ?- ^: o- ~! T" {- u. q; W. v' p, n5 P3 J
v
8 c; t. ~. r: D) p8 r+ E
, S' R7 {, C4 c) Q1 x' h- ^4 @! k0 `+ `
v7 O$ E, k6 p' {# |
9 p) X( b  j! J: N3 v5 u* O
; a- G4 \+ S' f1 b4 y* u0 u
v
5 {7 i  Q% p  O! T5 b3 w5 z# t; d8 T
3 m; w% q( U( d- z  c3 z
v
+ X6 u$ {) @% Z5 w% K3 K' T
# T& Z! ~/ j6 L3 s4 i" s( w  c; s: J! n# ~8 Q

. l6 U# S0 I2 e, l0 @/ f& Y) V/ z+ d* f; m* `# p! u
, `; S8 I  L  D( Q$ e5 A, E' Y
6 z# W& w$ e9 _9 _: L5 [2 r

6 L! f7 \+ G0 T* @6 b' E
" E3 y8 K" `% S! V# H0 {# s
2 Q8 Y6 }# Y9 ^6 A( V" V( i& ]9 G6 cv
4 z, L' G; V( z- F+ s  w3 L" A4 W9 h- y2 ~% h9 f# N% ^. T& \

+ l( ], y. @! [3 w& a
- g4 o2 M; g. Q2 Q7 O6 i$ |3 v, ?* L) l
v9 v0 Z9 A6 I7 a/ U- b

" q0 s# W; O5 p
$ G& v# f, ?4 d5 \9 w
0 F6 y& q' {+ x6 g& I9 B; @) k  @- t5 q: g1 H# X; c4 s

" |7 c4 Q. i0 E. |  t0 w
  @$ b& e  P/ h! W" U
: n: X& y$ r) A4 c9 \  ~" V* ^) p( s
v
5 s# f; e7 j6 K# _! u9 Q
# }2 K8 ~  ^' l8 ]5 z" A, |& g, L1 K, e/ W" Q) t' D
; C4 R; i7 f; t- n6 K# L( a

1 j$ g$ C( Y8 r4 E8 Z' G" r) t
# U" ~  A' s" d3 G+ {9 f2 {$ G4 n3 e5 z6 C8 O% T4 d. \
0 {2 M  @5 i. q# o' q7 K

; V0 i$ o4 W5 |5 n1 s6 P7 z, T7 ~- z7 ^3 W
+ w% U/ ]' |# }' y

! z5 o, u  n# e+ Y6 G( t, u
: I7 G9 k) ]0 d
; O  l6 ?4 T0 C( T+ {  S6 W) ~
1 ]$ U- d: @! s! O$ k% k* x
5 X% L! u  T" V9 N. p
7 N! a) s1 I: ~( S! [1 ?& j( V3 s0 L6 a* n
: {9 R# H( D0 C6 J) `: i; t
* s' C3 z) E- I

8 n: A2 L# V7 ?9 j$ o2 N% Q- k- o2 x( v2 b' x) G; C; P
4 V: M, ~1 u8 }5 t6 M) e# O# _
% W3 q5 a" ^" a0 _2 p6 U* Q

7 M; B( k& f3 X) b! [( T: l: v5 j! V3 i9 o! y
2 ~" G7 P* v. x. P1 g8 `
ครูคนหนึ่งตั้งคำถามกับเด็กว่า& ?9 {( H4 P6 S" \5 `: t
'ถ้ามีเงินอยู่ 10 บาท ซื้อของ 3 บาท+ g  V6 H7 J$ b  n& A! {9 P0 Q$ @
จะได้รับเงินทอนเท่าไร'4 b/ s4 s5 N0 g+ H5 M: w& ~
เด็กส่วนใหญ่ตอบว่า '7 บาท'- G/ r# X4 F7 {! \) G1 O! Y5 b
แต่มีเด็ก 2 คนที่ตอบไม่เหมือนกับคนอื่น
2 i0 s% x+ S* n# q0 g- J0 x
. t5 P3 r/ a% Z" {* P! [6 v: B% e* C5 e3 |) I
คนหนึ่งตอบว่า '2 บาท'
$ \* A% q& H* @3 o
/ g/ r( C2 o' ?9 L4 z; [& N; P5 J; S
อีกคนหนึ่งตอบว่า 'ไม่ต้องทอน'
: e. @1 N7 ^% j7 x. M3 h
2 m* y; P; D! Z1 f. A: b) y; w! E" W

% [3 p) `% P* V* L8 _
1 @/ e  ?3 W/ U  {4 a/ p  pครูถามเด็กคนแรกว่า ทำไมถึงได้เงินทอน 2 บาท/ u! Q5 `& d9 L9 b
คำตอบที่ได้ ก็คือภาพในใจของเขา
% F# L2 S; R; j0 Y, T1 |# t  dสำหรับเงิน 10 บาท คือ เหรียญห้า 2 เหรียญ. O4 {* D$ P4 A! B
เมื่อซื้อของราคา 3 บาท เขาก็ให้เหรียญห้า 1 เหรียญ
0 B" G: s. n9 e: ^; Sดังนั้น จึงได้เงินทอน 2 บาท0 l2 j  B5 `3 o( M

9 e& r; B' W! ]
9 y7 b0 y! g1 F- X
; A8 z+ ?& I+ m0 F& t0 B1 X
& T" @8 L8 ]' e& H) u3 Dถามเด็กคนที่สองว่า ทำไมไม่เหลือเงินทอนเลย
0 C, Y# \+ w! k- S6 @: lคำตอบก็คือ เด็กคนนี้คิดว่า6 d- o8 x7 ?. k' ~( k4 @7 i
ในกระเป๋ามีเหรียญบาท 10 เหรียญ
, @6 d  t' }& W9 c0 J. Qเมื่อซื้อของราคา 3 บาท
# Q: k1 t) H* g9 }: _: v+ a" iเขาก็ส่งเหรียญบาทให้ 3 เหรียญ$ Z1 U% G% k6 o# i
เพราะฉะนั้น คนขายจึงไม่ต้องทอนเงินให้เขา3 S$ C: E9 c( V+ a3 Y
# E3 ?- E& n3 C2 w% q, g  I4 p
2 S# t; _7 C- q, g1 L# B" a* r) Z

% w2 u7 a. @( a: g! d0 T' ?: `) a5 p# B- b) _, p# z1 v
  F5 M0 d7 Y3 Y$ M+ L2 _  n: P
โชคดีที่เป็นการถาม-ตอบในห้องเรียน. W( X; w8 g- a
ลองนึกดูสิครับว่า ถ้าโจทย์นี้เป็นข้อสอบ. A4 H- }# B3 t. ]; |% ^  C
ที่มีคำตอบเป็น ก-ข-ค-ง' y1 t7 o8 I; J& l/ }3 G9 x% u

0 G$ z- _+ k, g+ i" X% Y" J6 }
' d7 V) E; h7 w, d. q! `- O- ]
6 W8 t  u2 S! `: e) \* R& @0 k1 z2 }
เด็ก 2 คนนี้ ก็คงไม่ได้คะแนน9 E) x7 S; Z% d
จากคำตอบที่ผิดเพี้ยนจากคนส่วนใหญ่
1 T/ ]; S  o6 R& i! iการสร้างโจทย์ที่ 'เสมือนจริง' จินตนาการของ 'ครู'0 Z3 y  ^4 l. e, q% e' o7 [/ `
อาจถูกจำกัดเพียงแค่ 'ตัวเลข'
! l+ C9 D, v- \" y9 W6 c+ X% r% t' r" v
0 t# }9 v9 l2 [
แต่สำหรับเด็ก จินตนาการของเขาไร้กรอบ7 ~3 b6 D2 g( B9 b# E% |0 h
10 บาท จึงสามารถเปลี่ยนเป็น
( _" G) T, y* G4 [" m. ]เหรียญสิบ เหรียญห้า หรือเหรียญบาท' N6 x) z: H& ?' l5 v8 z+ z

1 M. o. L# q1 K# m% Y0 k5 C0 T( K& k: R9 S: z
8 i7 n+ @. Y4 e- i
เมืองไทยมีเหรียญ 2 บาท
8 w+ G3 J1 \0 f/ tเราจึงได้คำตอบเพิ่มอีก 1 คำตอบ
# O" i, ^# H; X+ _9 \5 qคือ ได้เงินทอน 1 บาท. j* Y. x5 x0 F. O) ~
6 y/ y  v) z2 ^2 V$ S
3 o+ D) e3 _. _3 D0 S  A* |  [

% w- Q8 N4 G/ \: c/ x* Iโลกในห้องเรียนกับโลกของความเป็นจริงนั้น- Z+ w7 g/ ^5 B3 ~3 i" c- J8 i3 d
แตกต่างกัน โลกในห้องเรียน
5 _) a6 y" k) J& K5 t- u' uทุกคำถามส่วนใหญ่มีเพียง 1 คำตอบ% G5 x; S/ N8 g+ ]/ I
แต่โลกของความเป็นจริง
% z8 C1 K" J1 W* F* |2 u5 ?' {ทุกคำถามอาจมีคำตอบที่ถูกต้องได้เกิน 1 คำตอบ
- l* J0 B2 U+ R! _+ h  W6 p$ B. }* \' m$ w4 O, a' ]
9 k1 L: s+ M9 h6 N, h' }
5 V+ }2 H: K, D8 ~& T

* S5 s& \* w) U: u5 Y'อย่าตัดสินความผิดของคนๆ นั้นเพียงแค่คำตอบของเรา'   a( Q$ E9 \& v& x
/ `& V. k8 V: V& ^

8 {( h4 \: n6 v, M- A- g
/ O2 x" e+ t8 O- l* B/ o+ N9 s+ `2 [/ J% s1 j" u, W4 l
และบางครั้งก็อย่าคิดมากเหมือนกับเด็ก 2 คนนี้
7 ~- M, c% {$ G, W# T* E
3 Y4 J$ I! r8 {Credit:
  1. Maximus
คัดลอกไปที่คลิปบอร์ด
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ลงชื่อเข้าใช้ | สมัครสมาชิก

รายละเอียดเครดิต

รายชื่อผู้กระทำผิด|Archiver|ดิสคัส ไทย Follow us: Become a fan on facebook. Follow us on Twitter.

GMT+7, 2024-6-27 04:24

Powered by Discuz! X3.4, Rev.66

Copyright © 2001-2021 Tencent Cloud. Licensed

ตอบกระทู้ ขึ้นไปด้านบน ไปที่หน้ารายการกระทู้