- เครดิต
- 1701
- เพื่อน
- ทักทาย
- บล็อก
- อัลบั้ม
- โพสต์
- กระทู้
- แชร์
- สำคัญ
- สิทธิ์อ่าน
- 50
- จำนวนผู้ติดตาม
- จำนวนผู้กำลังติดตาม
- เพศ
- ไม่บอก
|
เอเลนิน มหันตภัยดาวหางเฉียดโลก(!?) f3 V8 ]* R/ @' ^! f
* {: b6 q/ R5 C n; b( F, Q8 s
0 x6 |, Y( O* N y0 F
) D; S$ j# J; {/ k. ~) W
4 }( ?& j) a0 e' F3 z: g! T8 z+ | j/ M
เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
$ N& p; H$ ]! D1 C" y( L, k4 h# mขอขอบคุณภาพประกอบจาก reinep.files.wordpress.com , jimmyprophet.files.wordpress.com , 4.bp.blogspot.com" N3 c: {8 \8 M
0 p; R# q8 d3 q0 x. A8 Y; A% r3 z6 C
หากจะพูดถึงเรื่องความสัมพันธ์ของดวงดาวและปรากฎการณ์บนโลกแล้ว ต้องยอมรับว่า แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถพิสูจน์กันอย่างแน่ชัดว่า ดวงดาวจะมีอิทธิพลต่อปรากฎการณ์ต่าง ๆ บนโลกจริงหรือไม่ แต่นักวิทยาศาสตร์และนักดาราศาสตร์หลายคนก็พบว่า หลายครั้งการมาเยือน การโคจรเฉียดโลกของดวงดาวต่าง ๆ ก็เชื่อมโยงกับปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นบนโลกได้อย่างน่าฉงน จึงไม่แปลกที่ทุกครั้งที่เกิดปรากฎการณ์ต่าง ๆ ขึ้นบนโลก ไม่ว่าจะเป็นแผ่นดินไหว สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติเหล่านี้มักจะถูกนำไปเชื่อมโยงกับการเคลื่อนที่เข้าใกล้โลกและการเรียงตัวของดวงดาวต่าง ๆ ไปซะทุกครั้ง และมีการเก็บสถิติกันเรื่อยมา* j% V( F: G0 K. j8 u
/ g5 O( {* f: v$ T7 k
ล่าสุด ประเด็นภัยพิบัติอันเกิดจากการเคลื่อนที่ของดาว ก็ถูกหยิบยกมาพูดคุยกันอีกครั้ง เมื่อมีการเปิดเผยจากนาซ่าว่า ในระยะเวลาอีกไม่เกิน 2 เดือนข้างหน้านี้ ดาวหางที่มีชื่อว่า C/2010 X หรือที่รู้จักกันว่า เอเลนิน (Elenin) จะโคจรมาเยือนโลกของเราในระยะฉิวเฉียด แถมนักวิทยาศาสตร์สมัครเล่นบางคนยังคำนวณว่ามันจะมีช่วงเรียงตัวของ โลก ดาวหางเอเลนิน ดวงอาทิตย์ และดาวพุธ อีกด้วย บ้างก็ว่าเป็นดาวนิบิรุในตำนานอีกแน่ะ คราวนี้ก็เลยทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์กันไปต่าง ๆ นานา และถูกพูดถึงกันอย่างกว้างขวางไปทั่วโลกในขณะนี้ วันนี้ กระปุกดอทคอมจึงขอนำเรื่องราวของดาวหางที่กำลังจะมาเยือนโลกเราดวงนี้มาฝากกันค่ะ
( L9 K" o0 i& H7 ]2 y3 A* l# t) O' l4 U( J) h0 `
ดาวหาง เอเลนิน เป็นดาวหางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3-4 กิโลเมตร ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2553 โดยนักดาราศาสตร์ชาวรัสเซียนามว่า ลิโอนิด เอเลนิน ซึ่งถึงแม้ว่าตัวดาวจะเป็นก้อนน้ำแข็งที่มีขนาดเล็กจิ๋วเหมือนละอองฝุ่นเหมือนดาวหางทั่ว ๆ ไป แต่ด้วยความที่มันมี "โคม่า" หรือเมฆฝุ่นและแก๊สปกคลุมอยู่หนามาก ทำให้มันถูกมองเห็นเป็นกลุ่มเมฆขนาดใหญ่มากที่สุดประมาณ 200,000 กิโลเมตร ใหญ่เล็กต่างกันตามตำแหน่งที่มันโคจรไป และเมื่อเมฆฝุ่นและแก๊สตกกระทบกับดวงอาทิตย์แล้ว ก็จะทำให้มันส่องสว่างเด่นชัดขึ้นมาในห้วงจักรวาลอย่างไม่น่าเชื่อ
) S* k8 M+ y; W8 a- v9 o/ {& K
6 @# u, k; A' V และหลังจากการค้นพบมันเมื่อปีก่อน นักดาราศาสตร์ก็พบว่ามันมีวิถีโคจรพุ่งตรงมายังโลก และกำลังจะเฉียดโลกในปีนี้ โดยระบุว่าวันที่มันจะโคจรมาเฉียดโลกมากที่สุด คือ วันที่ 16 ตุลาคมนี้ ในระยะห่างประมาณ 35 ล้านกิโลเมตร ส่วนวันที่มันจะเรียงตัวอยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ คือวันที่ 26 กันยายนนี้ ซึ่งจากการคาดคะเนดังกล่าว ได้ทำให้วันทั้ง 2 วันนี้ถูกมาร์กไว้ในปฎิทินของใครหลาย ๆ คน ที่รอชมปรากฎการณ์ที่ "อาจจะ" ได้เห็น ขณะที่นักวิทยาศาสตร์สมัครเล่นก็นำมันมาเชื่อมโยงกับปรากฎการณ์บนโลกเช่นเคย ก่อนจะปล่อยข่าวลือฟุ้งกระจายไปทั่วเกี่ยวกับภัยพิบัติใหญ่หลวงที่จะมาพร้อมกับการมาเยือนของดาวหางเอเลนินดวงนี้
7 x) f1 {6 h! M. C' u/ D' i; n. x
6 C9 A$ P% s1 k# I
* i! r0 |$ x/ O- w9 bภาพแสดงตำแหน่งดาวหางเอเลนินบนท้องฟ้า( A% o* n" r$ Y; z; L
6 U: F \/ c: r( E$ R4 d สำหรับข่าวลือที่สร้างความหวาดกลัวให้กับใครหลาย ๆ คนนั้น ก็มีหลากหลายข่าวแตกต่างกันไปตามแต่ใครจะเชื่อ บ้างก็ว่าการมาเยือนของดาวหางเอเลนินดวงนี้จะทำปฏิกิริยากับโลกให้เกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สนามแม่เหล็กโลกเปลี่ยนไปชั่วระยะหนึ่ง และเกิดการแปรปรวนของสภาพอากาศบนโลก บ้างก็ว่าเมื่อดาวหางเอเลนินเรียงตัวกันกับโลกและดวงอาทิตย์แล้ว ดาวหางจะบดบังดวงอาทิตย์จนทำให้โลกมืดไปสามวันสามคืน นั่นคือ วันที่ 26 27 และ 28 กันยายนนี้ บ้างก็ว่าดาวหางเอเลนิน แท้จริงเป็นยานอวกาศจากสิ่งมีชีวิตทรงปัญญาต่างดาว บ้างก็ว่าดาวหางเอเลนินนี่แหละที่เป็นดาวเคราะห์เอ็กซ์หรือดาวนิบิรุในตำนาน แต่ถูกเปลี่ยนชื่อตามผู้ค้นพบเมื่อปรากฎขึ้นเท่านั้น และบ้างก็ว่า ดาวเอเลนินเป็นดาวนำร่อง ก่อนที่นิบิรุหรือดาวเคราะห์เอ็กซ์จะโคจรตามมาชนโลกในปี 2012 ซึ่งระบุว่าเป็นวันสิ้นโลกตามปฎิทินมายัน
v& F9 S/ V7 I! g: X9 Y% I' r: J# S! L+ q
ข่าวลือหลายกระแสข้างต้นนี้เริ่มแพร่กระจายมาตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา และยิ่งใกล้วันที่ดาวหางเอเลนินกำลังเคลื่อนที่เข้ามาใกล้โลกขึ้นเรื่อย ๆ ก็ยิ่งเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์กันไปมากมาย โดยเฉพาะในต่างประเทศ ประเด็นเรื่องดาวหางเอเลนินกำลังเป็นประเด็นที่พูดถึงกันเป็นอย่างมาก จนมีบทความ และมีผู้สร้างแบบจำลองปรากฎการณ์ดาวหางเอเลนินเฉียดโลกขึ้นมามากมายใน Youtube ก่อนที่จะมีคนนำไปคิดต่อยอดกันสารพัดจนทำให้ปรากฎการณ์ดาวหางเอเลนินเฉียดโลก กลายเป็นมหาวิบัติภัยครั้งใหญ่
; `( @4 \9 Z. @, m& |' J0 ^6 u3 e" |4 J( t' I/ I
ส่วนกลุ่มคนที่นิ่งที่สุด และไม่ได้หวั่นวิตกถึงการมาเยือนของเอเลนินในครั้งนี้ กลับเป็นเหล่านักดาราศาสตร์และองค์การนาซ่า ซึ่งทำงานเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้โดยตรง โดยล่าสุด ทางนาซ่าได้ออกมาเปิดเผยกันสด ๆ ร้อน ๆ เมื่อวันที่ 16 สิงหาคมที่ผ่านมาว่า แค่ปรากฎการณ์ดาวหางขนาดเล็กจิ๋วเฉียดโลกนั้น มันจะกลายเป็นเรื่องที่น่าวิตกได้อย่างไร เมื่อเอเลนินดวงนี้เปรียบเสมือนดาวเด็กน้อยที่อ่อนแอมากดวงหนึ่ง ที่ไม่ได้มีพละกำลังใด ๆ และยังพุ่งตัวฉิวเฉียดโลกในระยะห่างตั้ง 35 ล้านกิโลเมตร ซึ่งห่างกว่าดวงจันทร์ของเราถึง 90 เท่า
" y6 S* Q- \1 F7 V/ \2 c/ M# }% W# h3 G1 @8 S
( Y' R7 I! v4 H0 R, ~) e
ภาพแสดงการโคจรของโลกและดาวหางเอเลนิน
6 ^0 V" S8 v* |; r- T |- d9 [/ {/ w" t- S
ดังนั้น จึงเป็นไปไม่ได้เลยที่มันจะมีพลังทำลายล้างหรือส่งผลกระทบใด ๆ กับโลกของเรา และที่สำคัญ คือดาวหางขนาดเท่าเม็ดฝุ่นจักรวาลนั้น จะไม่สามารถบดบังดวงอาทิตย์ได้เลย แม้ว่าจะโคจรมาเรียงตัวกันตรงกลางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์นานแค่ไหน กลับกันตัวมันเองที่ปกคลุมไปด้วยเมฆฝุ่นและแก๊สนั้น ก็คงจะอันตรธานหายไปทันทีที่แสงอาทิตย์พาดผ่านมายังโลก และแน่นอนว่าจะไม่มีใครมองเห็นมันได้ในตอนกลางวันเลยด้วยซ้ำ ส่วนตอนกลางคืน นักดูดาว และคนบนโลกก็อาจจะมีลุ้นได้นั่งชมความงามของดาวหางที่พาดหางยาวสวย และฝนดาวตกเท่านั้นเอง
# Z8 c; ]% q5 w$ u+ U8 P2 U& a( _8 m
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่านาซ่าจะออกมาเปิดเผยกระจ่างแจ้งอย่างนั้นแล้ว ก็ยังไม่วายมีกระแสข่าวออกมาว่านาซ่ากลัวคนแตกตื่นเลยไม่อยากจะบอกความจริงให้โลกรู้อยู่ดี เอ้า! คราวนี้ ก็ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของแต่ละคนแล้วล่ะว่า ระหว่างนาซ่ากับนักวิทยาศาสตร์(สมัครเล่น)ทั้งหลายนั้น คุณจะเชื่อใคร?
; \8 u! U( T4 z+ \& y& i/ p( `2 H) L% m7 y0 T, i- {! R5 q
9 _5 y p" k) u
T; \! B- j; _& j9 ]2 N, p/ @
2 V! Y9 ^& i4 m8 i8 k+ {( N
คลิป จำลองปรากฎการณ์ดาวหางเอเลนินเฉียดโลก4 T5 P T3 v) O; }; _. m6 O
" T& |( M* v5 Y
' y$ e8 B/ o' U" F6 v# g- }* d; \1 ]" `8 O1 v1 u; \- E2 C
! z( O+ p5 B( N |
|
|
|
|
|
|