- เครดิต
- 112
- เพื่อน
- ทักทาย
- บล็อก
- อัลบั้ม
- โพสต์
- กระทู้
- แชร์
- สำคัญ
- สิทธิ์อ่าน
- 10
- จำนวนผู้ติดตาม
- จำนวนผู้กำลังติดตาม
- เพศ
- ไม่บอก
|
สุภาษิตจีนมีคำกล่าวไว้ว่า ไม่มีมิตรแท้ และศัตรูถาวร นมวัวน่าจะจัดเป็นกลุ่มแรกมากกว่า นั่นคือ นมถูกมองว่าเป็นพระเอกไปเสียทุกเรื่อง แต่ก็มีความจริง บางอย่างเกี่ยวกับนมวัวที่ถูกปกปิดเอาไว้ ความจริงที่ว่านี้บริษัทนมอาจไม่อยากบอกให้คุณรู้ก็ได้
/ G3 r- c% h% j, ^4 l; _- b, m- E0 Y5 W# |- p% l
จากข้อสังเกตที่ว่า คนอเมริกันกินนมเยอะที่สุดและมีปัญหาเรื่องน้ำหนักเกินพ่วงตามมาด้วย ผู้ชายอ้วน 27% ผู้หญิง 46% ในขณะที่สถิติเรื่องอ้วนในคนไทย มีแค่ประมาณ 20% ทั้งหญิงและชาย& c; Y3 H2 _* {0 Y$ {
- F7 D- ] ?8 }1 L. O: u& x, F
เรื่องเบาหวานในคนอเมริกันก็ไม่ได้ดีเท่าไหร่ ขอกระซิบเบาๆ ว่า คนอเมริกันเป็นเบาหวานมากกว่าคนไทย 3 เท่าเชียวนะ สถิติโรคกระดูกพรุน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ในคนอเมริกัน ล้วนแล้วแต่สูงกว่าคนไทยทั้งสิ้น น่าแปลกที่ฝรั่งที่มาสอนให้เราดื่มนมป้องกันกระดูกพรุน กลับมีอัตราเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุนมากกว่าเราเกือบ 9 เท่า !. P( v$ U" c( ]6 u% @
จึงมีคนเอะใจว่า การกินอาหารแบบอเมริกันน่าจะเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เราเจ็บป่วยเสียแล้ว และเรื่องนมวัวก็ไม่หลุดรอดจากการตรวจสอบไปได้ ผลจากการตรวจสอบเราพบว่า ปัญหาจากนมวัวเกิดเพราะสถานการณ์ต่างๆ ในโลกได้เปลี่ยนไป
# P8 k6 X c5 f8 s6 ~' {+ M7 Z& C6 ]6 f Y5 [8 U
สุขภาพคนไทยเปลี่ยนจากทุโภชนาการเป็นโภชนาการล้นเกิน
4 M. L, m/ ~0 \$ j" Pสถานการณ์แรกที่ต้องคิดถึงก็คือ การรณรงค์ให้ดื่มนมวัวเริ่มสมัยหลังสงครามโลกใหม่ๆ สมัยนั้นเป็นสมัยที่คนไทย ยังขาดอาหารอยู่ มีภาวะทุโภชนาการอยู่ทั่วไป แต่ปัจจุบันสถานการณ์ได้เปลี่ยนไปในทางตรงกันข้ามคนไทยมี อาหารการกินอย่างเหลือเฟือจนโรคอ้วนถามหากันเป็นทิวแถว การมาส่งเสริมให้ดื่มนมกลับเป็นการซ้ำเติมโรคอ้วน ให้แย่ลงไปอีก+ T9 _' p6 n: s) ^) m7 p, B
( b- S0 ~. N# [: _# k( g5 n* ?0 Pมีวิจัยว่า นมวัวเป็นสาเหตุของโรคอ้วน ไขมันในเลือดสูง และโรคหัวใจหลอดเลือด แม้ว่าคุณจะดื่มนม พร่องไขมันแล้วก็ตาม แต่คำว่าพร่องไขมันในที่นี้เป็นการเล่นคำ เพราะพร่องไขมันก็คือยังมีไขมันอยู่ แต่น้อยกว่าปกติเท่านั้นเอง
@& O! i; V! c1 H' M0 V! Q$ ^" }# G3 x; \
มีการนำเอาเด็กนักเรียนโรงเรียนนานาชาติในจังหวัดเชียงใหม่มาตรวจหาระดับไขมันในเลือดดู พบว่าเด็กเหล่านี้ ที่ถูกเลี้ยงดูให้กินนมต่างน้ำ มีไขมันสูง ในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีสูงถึง 25% อายุ 6-15 ปีมีถึง 70% และระดับไขมันก็จะ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามอายุ นั่นหมายความว่าเด็กเหล่านี้เริ่มเข้าสู่วัยหนุ่มสาว เขาก็มีปัญหาไขมันอุดตันเป็นที่เรียบร้อย แล้ว: x& T; P2 g; o/ i* L: Q8 T
1 K+ [) p4 [" h' y$ \+ j
นมวัวเพิ่มความเสี่ยงต่อภูมิแพ้ - ไซนัสอักเสบ - หอบหืด
. u ^( b3 ^9 `% @8 ~นมวัวเพิ่มความเสี่ยงต่อภูมิแพ้ ไซนัสอักเสบ และหอบหืดในคนไทยด้วย เพราะว่าพันธุกรรมของคนไทยนั้นมักจะแพ้ต่อนมวัว เคยมีการวิจัยในอาสาสมัครคนไทยที่ให้ดื่มนมวัว แล้วนำมาส่องดูเยื่อบุโพรงจมูกและเยื่อบุลำไส้ พบว่าคนเหล่านี้มีอาการบวมของเยื่อบุโพรงจมูกและลำไส้ถึง 100%
' B2 w, F. d* T6 i; M: w' V* _/ O6 D* F3 t( i3 x
ดื่มนมเสี่ยงต่อการเกิดนิ่วในถุงน้ำดี! Y W' b6 K: }, D9 _' P: _$ f( I
เนื่องจากนมเป็นสาเหตุที่สำคัญของไขมันในเลือดสูง ดังนั้นนมจึงมีส่วนเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคนิ่วในถุงน้ำดีได้ด้วย ทั้งนี้นิ่วในถุงน้ำดีบางส่วนเกิดจากการที่มีสมดุลของน้ำดี ีและไขมันผิดปกติ ทำให้น้ำดีตกตะกอนเป็นนิ่วได้
" I# b5 g" l* b# B" k2 H0 X" _2 h { Z" A; J* S2 m
ดื่มนม…มะเร็งอาจถามหา( m6 Y9 U; T! C/ D
นับตั้งแต่ปี ค.ศ.1950-1975 หลังญี่ปุ่นแพ้สงคราม นักวิจัยชาวญี่ปุ่นพบว่าคนญี่ปุ่นดื่มนมเพิ่มขึ้น 15 เท่า กินเนื้อสัตว์เพิ่ม 7.5 เท่า ผลก็คือในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้หญิงญี่ปุ่น ป่วยเป็นโรคมะเร็งปอด มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้มากกว่าเดิม 300% ซึ่งตรงกับงานวิจัยของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติอเมริกาที่ว่า อาหารไขมันอิ่มตัวสูงเพิ่มความเสี่ยง
4 g1 z0 J) ~7 F9 ?ต่อโรคมะเร็ง เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งเต้านม
# d7 q1 o7 U. I$ @9 m' z4 a. W" n: B1 @8 z8 a
การประชุมกองทุนวิจัยมะเร็งโลก (WCRF) และสถาบันมะเร็งแห่งชาติสหรัฐ (AICR) ก็มีงานวิจัยการสรุปออกมาเหมือนกันว่านมเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของมะเร็ง แต่ด้วย ความเกรงใจบริษัทที่มีส่วนได้ส่วนเสียในเรื่องนี้ ก็เลยมีการแก้ไขถ้อยคำให้รุนแรงน้อยลงหน่อยว่า นมอาจจะเป็นปัจจัยเสี่ยงของมะเร็ง
# @3 W+ |# w1 G/ j% \/ _) I, M6 M! Q5 z* q# a' v$ u N! h
f+ } s# a7 ]) F& P% Y) C |
ขออภัย! โพสต์นี้มีไฟล์แนบหรือรูปภาพที่ไม่ได้รับอนุญาตให้คุณเข้าถึง
คุณจำเป็นต้อง ลงชื่อเข้าใช้ เพื่อดาวน์โหลดหรือดูไฟล์แนบนี้ คุณยังไม่มีบัญชีใช่ไหม? สมัครสมาชิก
x
|
|
|
|
|
|