Chiropractic
. B7 e( P+ `0 E- \การบำบัดด้านระบบกระดูกสันหลังและระบบเส้นประสาทคืออะไร? 5 J( b5 S k* C9 I3 a- m0 g% w
/ _5 [: B& ]1 `+ v' @. J<p>การบำบัดด้านระบบกระดูกสันหลังและระบบเส้นประสาทคือ การเข้าถึงการดูแลสุขภาพที่เน้นความสามารถใน การรักษาร่างกายโดยธรรมชาติ7 E* r3 E! i7 S- D% u8 \
1 r$ B( }- |) Y6 T
# I. K; }+ S: N+ {# L8 C, ~4 Z. g: b
; r* R/ {' u& |5 o3 F1 z, w+ [) p( |
แพทย์ผู้บำบัดด้านระบบประสาท ดร.ดาเนียล ดี ปาล์มเมอร์ (ค.ศ. 1895) เป็นผู้เสนอแนวคิดที่ว่าเนื่องด้วยความสัมพันธ์ระหว่างระบบกระดูกกล้ามเนื้อ กับระบบประสาทเมื่อมีการทำหน้าที่ผิดปกติเกิดขึ้นในร่างกาย ก็นำไปสู่ความปั่นป่วนในระบบอื่นๆของร่างกายเช่นกัน ด้วยขีดจำกัดของร่างกาย คือ$ T/ ^- s3 ]: o7 S; d8 ?- M0 }' n
! {3 P2 k& w( O1 K* ~% \5 M3 Q5 p# O1 _! k# X0 N+ z
ร่างกายรักษาตัวเองและรักษาด้วยการบำบัดด้านระบบประสาท พยายามที่จะนำการแทรกแซงต่างๆไปใช้กับ ความสามารถของร่างกายในการรักษาตนเองมาแต่กำเนิด การบำบัดด้านระบบประสาทเป็นการรักษาแผนใหม่ โดยใช้รากฐานเดิมศิลปะจีนและอียิปต์โบราณทำให้เราเห็นภาพ การเคลื่อนย้ายกระดูกสันหลังในศตวรรษที่ 5 ก่อนพุทธศักราช นักปราชญ์ชาวกรีก (บิดาแห่งการแพทย์)ได้พัฒนาทฤษฎีเรื่องกลไกกระดูกสันหลังกับบทบาทการเคลื่อนย้ายในร่างกายมนุษย์6 `0 d( K/ B2 X$ p! L, \# F* J
9 B" Q- L; H% n5 T! y5 V: l9 mแต่อย่างไรก็ตาม ด้วยรูปแบบการแพทย์อื่นๆได้รับการพัฒนาต่อไปอีก การเคลื่อนย้ายที่อยู่เพียงเบื้องหลังมาจนกระทั่งปีค.ศ. 1895 เมื่อ ดร.ปาล์มเมอร์ทำปรับเปลี่ยนแก้ไขกระดูกสันหลังมนุษย ผู้ซึ่งสูญเสียการรับฟังเนื่องจากอุบัติเหตุที่เกิดกับคอ คนไข้ได้รับการฟื้นฟูจนกลับมาได้ยินอีกครั้ง ดร.ปาล์มเมอร์ก็ได้เริ่มสอนการนำความคิดของเขาไปใช้ในคลินิก ตั้งแต่นั้นมาการบำบัดด้านระบบประสาทก็แพร่หลายมากขึ้นในฐานะที่แขนงสาขาอาชีพหนึ่ง ปัจจุบันมีแพทย์ฝึกหัดด้านนี้มากกว่า 50,000 รายเพียงแค่เฉพาะในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น1 d# c v" X( v6 K6 ?
1 Q4 X. C4 y) Q! D3 t! b& j100ปี ที่ผ่านมามนุษย์ได้รับประโยชน์มากมายจากการบำบัดด้าน ระบบประสาทโดยไม่ใช้ยาและการผ่าตัดแต่อย่างใด คนไข้รายใหม่ๆมักไปพบแพทย์ผู้บำบัดด้านระบบประสาท เพื่อรักษาบรรเทาอาการปวดเมื่อยและต่อมาก็ทราบว่า การบำบัดด้านระบบประสาททำได้มากกว่านั้น การบำบัดด้านระบบประสาทช่วยให้คนไข้มีสุขภาพร่างกายที่ดี โดยการเคลื่อนย้ายการแทรกแซงเส้นประสาทต่างๆ ออกจากแนวเส้นกระดูกสันหลังและบางครั้งออกจากข้อต่อกระดูกอื่นๆด้วย |